"กมลธรรม"
"กมล" + "ธรรม"
กมล
[กะมน] (แบบ) น. บัว เช่น บาทกมล. (สมุทรโฆษ); ใจ เช่น ดวงกมล.
ว. เหมือนบัว เช่น เต้าสุวรรณกมลคนที. (ม. คําหลวง หิมพานต์),
บางทีใช้ว่า กระมล. (ป., ส.).
(พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒)
ธรรม ๑, ธรรม, ธรรมะ
[ทํา, ทํามะ] น. คุณความดี เช่น เป็นคนมีธรรมะ เป็นคนมีศีลมีธรรม;
คําสั่งสอนในศาสนา เช่น แสดงธรรม ฟังธรรม ธรรมะของพระพุทธเจ้า;
หลักประพฤติปฏิบัติในศาสนา เช่น ปฏิบัติธรรม ประพฤติธรรม; ความ
ความจริง เช่น ได้ดวงตาเห็นธรรม; ความยุติธรรม, ความถูกต้อง, เช่น
เป็นธรรมในสังคม; กฎ, กฎเกณฑ์, เช่น ธรรมะแห่งหมู่คณะ; กฎหมาย
เช่น ธรรมะระหว่างประเทศ; สิ่งทั้งหลาย, สิ่งของ, เช่น เครื่องไทยธรรม.
(ส. ธรฺม; ป. ธมฺม).
เมื่อดูจากความหมายข้างต้นของ "กมล" เป็นความหมายที่สามารถสื่อสารออกมาเป็นภาพได้ แต่เมื่อมองถึงสิ่งที่จะนำมาใช้ร่วมกับ "ธรรม" คำว่า บัว น่าจะตกไป (ใจดูมีความหมายลึกซึ้งมากกว่า)
ใจ
น. สิ่งที่ทําหน้าที่รู้ รู้สึก นึก และคิด เช่น ใจก็คิดว่าอย่างนั้น, หัวใจ เช่น
ใจเต้น, ลมหายใจ เช่น กลั้นใจ อึดใจ หายใจ, ความรู้สึกนึกคิด เช่น ใจคด
ใจซื่อ; จุดสำคัญของบางสิ่งบางอย่าง เช่น ใจมือ, บริเวณที่ถือว่าเป็นจุด
สำคัญของสถานที่ เช่นใจบ้านใจเมือง.
(พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒)
Symbol ของ หัวใจที่เป็นสากล
Symbol ของ "กมล" (ตามรสนิยมของผม)
ในส่วนของ "ธรรม" หมายถึง คุณความดี, ความชอบ; คำสั่งสอนในพระพุทธศาสนา; การปฏิบัติตามคำสั่งสอนในพระพุทธศาสนา
ยังมองไม่เห็น สื่อสารเป็นภาพยังไม่ได้ วิเคราะห์จากความหมายที่ได้ "คำสั่งสอนในพระพุทธศาสนา; การปฏิบัติตามคำสั่งสอนในพระพุทธศาสนา"
คำถาม "พระพุทธศาสนาก่อเกิดขึ้นได้อย่างไร"
คำตอบ "การตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า"
เมื่อเจ้าชายสิทธัตถะมีพระชนม์ได้ 29 พรรษาก็ได้มีเหตุดลใจให้เจ้าชายสิทธัตถะเสด็จออกบวช เพราะขณะเสด็จประพาสพระราชอุทยานทรงเห็น คนแก่ คนเจ็บ คนตาย และบรรพชิต ดังนั้นพระองค์ทรงคิดหาทางดับทุกข์ดังกล่าว โดยทรงตัดสินพระทัย ออกบวช ในระหว่างบำเพ็ญพรต เพื่อหาสัจธรรมนั้น ได้ทรงเลือกนั่งประทับที่โคน ต้นโพธิ์จนกระทั่งพระองค์ได้ตรัสรู้ พระสัมมาสัมโพธิญาน คือ อริยสัตย์ 4 อันประกอบด้วย ทุกข์ สมุห์ทัย นิโรธ มรรค
ข้อมูลจากhttp://www.dnp.go.th/nursery/pud/po.htm,http://www.geocities.com/sittisak969/history.html
โพธิ, โพธิ์
[โพทิ, โพ] น. ความตรัสรู้; ชื่อต้นไม้เป็นที่ตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า,
บัดนี้หมายถึงต้นไม้จําพวกโพ. (ป., ส.).
(พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒)
โพธิ์
คำแปล2
[โพ] (มค. โพธิ) น. ความตรัสรู้; ต้นไม้ที่พระพุทธเจ้าได้ประทับ ณ ภายใต้ แล้วได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า (เหมือน โพธิ).
(พจนานุกรม ไทย-ไทย อ.เปลื้อง ณ นคร)
"กมลธรรม" มีความหมายว่า "ผู้ที่มีคุณความดีอยู่ในหัวใจ"
"คิวยิ้ม" "กมลธรรมอิ่มเอม"
ตอนนี้มี Logo ของตนเอง 2 แบบแล้ว คงต้องเลือกใช้ให้เหมาะสมเสียแล้ว
ฮา ฮา ฮ่า
"กมล" + "ธรรม"
กมล
[กะมน] (แบบ) น. บัว เช่น บาทกมล. (สมุทรโฆษ); ใจ เช่น ดวงกมล.
ว. เหมือนบัว เช่น เต้าสุวรรณกมลคนที. (ม. คําหลวง หิมพานต์),
บางทีใช้ว่า กระมล. (ป., ส.).
(พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒)
ธรรม ๑, ธรรม, ธรรมะ
[ทํา, ทํามะ] น. คุณความดี เช่น เป็นคนมีธรรมะ เป็นคนมีศีลมีธรรม;
คําสั่งสอนในศาสนา เช่น แสดงธรรม ฟังธรรม ธรรมะของพระพุทธเจ้า;
หลักประพฤติปฏิบัติในศาสนา เช่น ปฏิบัติธรรม ประพฤติธรรม; ความ
ความจริง เช่น ได้ดวงตาเห็นธรรม; ความยุติธรรม, ความถูกต้อง, เช่น
เป็นธรรมในสังคม; กฎ, กฎเกณฑ์, เช่น ธรรมะแห่งหมู่คณะ; กฎหมาย
เช่น ธรรมะระหว่างประเทศ; สิ่งทั้งหลาย, สิ่งของ, เช่น เครื่องไทยธรรม.
(ส. ธรฺม; ป. ธมฺม).
เมื่อดูจากความหมายข้างต้นของ "กมล" เป็นความหมายที่สามารถสื่อสารออกมาเป็นภาพได้ แต่เมื่อมองถึงสิ่งที่จะนำมาใช้ร่วมกับ "ธรรม" คำว่า บัว น่าจะตกไป (ใจดูมีความหมายลึกซึ้งมากกว่า)
ใจ
น. สิ่งที่ทําหน้าที่รู้ รู้สึก นึก และคิด เช่น ใจก็คิดว่าอย่างนั้น, หัวใจ เช่น
ใจเต้น, ลมหายใจ เช่น กลั้นใจ อึดใจ หายใจ, ความรู้สึกนึกคิด เช่น ใจคด
ใจซื่อ; จุดสำคัญของบางสิ่งบางอย่าง เช่น ใจมือ, บริเวณที่ถือว่าเป็นจุด
สำคัญของสถานที่ เช่นใจบ้านใจเมือง.
(พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒)
Symbol ของ หัวใจที่เป็นสากล
Symbol ของ "กมล" (ตามรสนิยมของผม)
ในส่วนของ "ธรรม" หมายถึง คุณความดี, ความชอบ; คำสั่งสอนในพระพุทธศาสนา; การปฏิบัติตามคำสั่งสอนในพระพุทธศาสนา
ยังมองไม่เห็น สื่อสารเป็นภาพยังไม่ได้ วิเคราะห์จากความหมายที่ได้ "คำสั่งสอนในพระพุทธศาสนา; การปฏิบัติตามคำสั่งสอนในพระพุทธศาสนา"
คำถาม "พระพุทธศาสนาก่อเกิดขึ้นได้อย่างไร"
คำตอบ "การตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า"
เมื่อเจ้าชายสิทธัตถะมีพระชนม์ได้ 29 พรรษาก็ได้มีเหตุดลใจให้เจ้าชายสิทธัตถะเสด็จออกบวช เพราะขณะเสด็จประพาสพระราชอุทยานทรงเห็น คนแก่ คนเจ็บ คนตาย และบรรพชิต ดังนั้นพระองค์ทรงคิดหาทางดับทุกข์ดังกล่าว โดยทรงตัดสินพระทัย ออกบวช ในระหว่างบำเพ็ญพรต เพื่อหาสัจธรรมนั้น ได้ทรงเลือกนั่งประทับที่โคน ต้นโพธิ์จนกระทั่งพระองค์ได้ตรัสรู้ พระสัมมาสัมโพธิญาน คือ อริยสัตย์ 4 อันประกอบด้วย ทุกข์ สมุห์ทัย นิโรธ มรรค
ข้อมูลจากhttp://www.dnp.go.th/nursery/pud/po.htm,http://www.geocities.com/sittisak969/history.html
โพธิ, โพธิ์
[โพทิ, โพ] น. ความตรัสรู้; ชื่อต้นไม้เป็นที่ตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า,
บัดนี้หมายถึงต้นไม้จําพวกโพ. (ป., ส.).
(พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒)
โพธิ์
คำแปล2
[โพ] (มค. โพธิ) น. ความตรัสรู้; ต้นไม้ที่พระพุทธเจ้าได้ประทับ ณ ภายใต้ แล้วได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า (เหมือน โพธิ).
(พจนานุกรม ไทย-ไทย อ.เปลื้อง ณ นคร)
"กมล" "ธรรม" ยังไม่เป็น "กมลธรรม"
นั่งคิดอยู่ครู่นึง เพื่อนร่วมงานก็ทัก "คิว ต้องอีกนิดนึงวะ ต้องเอามารวมกันหน่อย" ยังไม่มีความเป็นเอกภาพว่างั้น (อืมๆ Thank You Manoman!!!)
"กมลธรรม" มีความหมายว่า "ผู้ที่มีคุณความดีอยู่ในหัวใจ"
"คิวยิ้ม" "กมลธรรมอิ่มเอม"
ตอนนี้มี Logo ของตนเอง 2 แบบแล้ว คงต้องเลือกใช้ให้เหมาะสมเสียแล้ว
ฮา ฮา ฮ่า
หมายเหตุ : บทความนี้ได้ถูกแก้ไขตัดทอนเนื้อหาบางส่วนมื่อวันที่ 10 พ.ย. 08
2 ความคิดเห็น:
โห ความหมายมันยาวไป>< แม่เจ้า
เออวะ!!! พลาดไปแล้ว
ทำความเข้าใจใหม่
(วิธีนำเสนอ)
แสดงความคิดเห็น